Available courses

จุดประสงค์รายวิชา

เพื่อให้

1. เข้าใจหลักสถิตยศาสตร์ การใช้เวกเตอร์ช่วยในการคำนวณแรงในโครงสร้างและชิ้นส่วนเครื่องกล

2. สามารถวิเคราะห์แรงในโครงสร้างและชิ้นส่วนเครื่องกล หาคุณสมบัติของรูปทรงเรขาคณิต

ที่เกี่ยวกับสถิตยศาสตร์ และสามารถแก้ปัญหาสถิตยศาสตร์วิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาชีพ

3. มีเจตคติที่ดีในการสืบค้นความรู้และใช้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ปัญหา มีความละเอียด

รอบคอบ และตระหนักถึงความปลอดภัย

สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการคำนวณแรง โมเมนต์บนระนาบปริภูมิ โดยใช้เวกเตอร์และเครื่องคำนวณช่วย

2. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการวิเคราะห์แรงในชิ้นส่วนโครงสร้างและชิ้นส่วนเครื่องกล

3. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการคำนวณเกี่ยวกับแรงกระจาย และสถิตยศาสตร์ของไหล

4. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการหาจุดศูนย์ถ่วง เซนทรอยด์  และค่าโมเมนต์ความเฉื่อยของรูปทรง

เรขาคณิต

5. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการคำนวณเกี่ยวกับแรงเสียดทานในเครื่องจักรกล

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาเกี่ยวกับ วิธีการแก้ปัญหาโจทย์ทางวิศวกรรมโดยใช้หลักสถิตยศาสตร์และเวกเตอร์ช่วยเกี่ยวกับระบบของแรง  ชนิดของแรง  โมเมนต์และแรงคู่ควบ  สมดุล  แผนภาพวัตถุอิสระ  โครงสร้าง  และหลักการวิเคราะห์เบื้องต้น  แรงกระจาย  สถิตยศาสตร์ของไหล  จุดศูนย์ถ่วง  เซนทรอยด์  โมเมนต์ความเฉื่อย  และความเสียดทาน  การแก้ปัญหาโจทย์สถิตยศาสตร์วิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาชีพ

 

 

 

 

 

 

จุดประสงค์รายวิชา

   1. มีความเข้าใจหลักการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเบื้องต้น กฎหมายพระราชบัญญัติและกาสนเทศทางด้านความปลอดภัย เทคโนโลยีและวิศวกรรมความปลอดภัยหลักการยศาสตร์เพื่ออาชีวอนามัยและเพิ่มผลผลิตและมาตรฐานการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

2. มีความสามารถดำเนินงานด้วยความปลอดภัยในการทำงาน  การป้องกันและควบคุมอันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน  ดำเนินงานด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรมความปลอดภัยส่งเสริมสุขภาพอนามัยพนักงาน ปรับปรุงสภาพการทำงานและจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเบื้อง ต้น

3. มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความรอบคอบ  หยั่งรู้อันตราย มีความตระหนักในอาชีวอนามัยและความปลอด ภัย

 

มาตรฐานรายวิชา

  -การจัดอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเบื้องต้น,การจัดองค์กรและความปลอดภัย,อุบัติเหตุและการป้องกัน,

   โรคอันเนื่องจากการประกอบอาชีพอุตสาหกรรม,เทคโนโลยีและวิศวกรรมความปลอดภัยเบื้องต้น,การป้องกันและระวังอัคคีภัย,การส่งเสริมสุขภาพอนามัยพนักงาน,การตรวจความปลอดภัยและการสอบสวนอุบัติเหตุ,การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัยแลการหยั่งรู้อันตราย,กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย

 

คำอธิบายรายวิชา

- ศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมความปลอดภัยในการทำงาน  การจัดทีมงานส่งเสริมความปลอดภัยภายในและภายนอกสำนักงาน  การป้องกันและควบคุมมลพิษจากสภาพแวดล้อมในการทำงานทางด้านชีววิทยากายภาพและ  ทางเคมี  เทคโนโลยีและวิศวกรรมความปลอดภัยเบื้องต้น ความปลอดภัยบริเวณพื้นที่ทำงานการใช้เครื่องมือเครื่องจักรและยานพาหนะการเคลื่อนย้ายวัสดุและเก็บรักษาวัสดุ ความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้าและในงานก่อสร้าง การป้องกันและระงับอัคคีภัย  การส่งเสริมสุขภาพอนามัยพนักงาน การป้องกันและเฝ้าระวังโรคจากการทำงาน  การปฐมพยาบาล  การวิเคราะห์และปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์  การจัดอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเบื้องต้น  การตรวจสอบความปลอดภัย การสอบสวนและวิเคราะห์อุบัติเหตุในการทำงาน  การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัยและฝึกการหยั่งรู้อันตราย

  

จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้

1. เข้าใจหลักการของกระบวนการเชื่อมแบบต่างๆ

2. เข้าใจหลักการใช้งานของเครื่องมือ อุปกรณ์และแก๊สที่ใช้ในงานเชื่อม

3. เข้าใจเกี่ยวกับตำแหน่งท่าเชื่อม รอยต่อในงานเชื่อมลักษณะของรอยเชื่อมตามมาตรฐาน

4. เข้าใจลักษณะจุดบกพร่อง สาเหตุและวิธีการแก้ไข

 

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาเกี่ยวกับ หลักการเชื่อม เครื่องมือ อุปกรณ์ใน

กระบวนการเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ (SMAW)

เชื่อมอาร์กทังสเตนแก๊สคลุม (GTAW) เชื่อมอาร์กโลหะแก๊สคลุม

(GMAW) เชื่อมไส้ฟลักซ์ (FCAW) เชื่อมใต้ฟลักซ์ (SAW)

เชื่อมแก๊ส (OAW) แก๊สที่ใช้ในงานเชื่อม ตำแหน่งท่าเชื่อม

รอยต่อในงานเชื่อม ลักษณะของรอยเชื่อมตามมาตรฐาน

ลักษณะจุดบกพร่อง สาเหตุและวิธีการแก้ไข

สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการกระบวนการเชื่อมต่างๆ

2. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการใช้งานของเครื่องมือ อุปกรณ์และแก๊สที่ใช้ในงานเชื่อม

3. แสดงความรู้เกี่ยวกับลักษณะของรอยเชื่อมตามมาตรฐาน และตำแหน่งท่าเชื่อม

4. แสดงความรู้เกี่ยวกับลักษณะจุดบกพร่อง สาเหตุและวิธีการแก้ไขในงานเชื่อม

 คำอธิบายราวิชา

การตรวจสอบสมบัติเฉพาะหรือการตรวจสอบสภาพของชิ้นงานด้วยกรรมวิธีต่างๆซึ่งเป็นการไม่ให้ชิ้นงานที่ถูก

ตรวจสอบเกิดความเสียหายโดยการตรวจสอบนำมาใช้ประโยชน์ในด้านของการค้นหาข้อบกพร่องของชิ้นงานเพื่อเป็น

การประกันคุณภาพของชิ้นงาน ได้มาตรฐานเพื่อใช้ในการควบคุมและตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐาน

 จุดประสงค์รายวิชา

 อธิบายการตรวจสอบด้วยสายตาได้ถูกต้อง

 อธิบายการตรวจสอบด้วยน้ำยาแทรกซึมได้ถูกต้อง

 อธิบายการตรวจสอบด้วยผงแม่เหล็กได้ถูกต้อง

 

 อธิบายการตรวจสอบด้วยอัลตราโซนิกได้ถูกต้อง

 อธิบายการตรวจสอบด้วยกระแสไหลวนได้ถูกต้อง

 

 อธิบายการตรวจสอบภาพถ่ายด้วยรังสีได้ถูกต้อง

 สมรรถนะรายวิชา

 

เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการตรวจสอบแบบไม่ทำลายสภาพ (Non Destructive Test) การตรวจสอบหาจุดบกพร่องด้วยกระแสไหลวน ผงแม่เหล็ก การถ่ายภาพด้วยรังสี คลื่นเสียงอัลตราโซนิก กา น้ำยาแทรกซึม วิธีการตรวจสอบโดยสายตา

.

จุดประสงค์รายวิชา

1.  เพื่อให้มีความเข้าใจหลักการ  กระบวนการเชื่อมแก๊ส  และการเชื่อมไฟฟ้า

2.  เพื่อให้ปฏิบัติงานเชื่อมและโลหะแผ่นด้วยความปลอดภัยตามหลักอาชีวอนามัย

3.  เพื่อให้สามารถใช้และปรับแต่งเครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเชื่อมและโลหะแผ่น

4.  เพื่อให้มีความสามารถเชื่อมแก๊ส  เชื่อมไฟฟ้าและงานโลหะแผ่น

5. เพื่อให้มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อยประณีตรอบคอบและตระหนักถึงความปลอดภัย

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการเบื้องต้นในงานเชื่อมและโลหะแผ่น  ความปลอดภัยในงานเชื่อมและงานโลหะแผ่น  กระบวนการเชื่อมแก๊สและไฟฟ้า  วัสดุ  เครื่องเชื่อมและอุปกรณ์ในงานเชื่อม  เครื่องจักรและเครื่องมือที่ใช้ในงานโลหะแผ่น  การแล่นประสาน  (Brazing)  รอบต่อที่ใช้ในงานเชื่อมและการแล่นประสาน  ท่าเชื่อม  การเขียนแบบแผ่นคลี่อย่างง่าย  ด้วยวิธีเส้นขนานและแบบรัศมี   ขอบงานตะเข็บ  หลักการบัดกรี  (Soldering)  และปฏิบัติเกี่ยวกับการประกอบติดตั้งเครื่องมืออุปกรณ์  งานเชื่อมแก๊สและไฟฟ้า  การเริ่มต้นอาร์ค  การเชื่อมเดินแนว  ต่อมุม  ต่อตัวที   ท่าราบ  การเขียนแบบแผ่นคลี่ลงแผ่นงาน  การทำตะเข็บ  การบัดกรี  การขึ้นรูปด้วยการพับ  ตัด  เคาะขึ้นขอบ  การม้วน    และประกอบชิ้นงาน  โดยใช้อุปกรณ์ความปลอดภัยส่วนบุคคลถูกต้องตามหลักความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

สมรรถนะของรายวิชา

1. เข้าใจหลักการกระบวนการเชื่อมแก๊สและการเชื่อมไฟฟ้า

2. เชื่อม แล่นประสานและตัดแผ่นเหล็กกล้าคาร์บอนด้วยแก๊ส

3. เชื่อมอาร์กลวดหุ้มฟลักซ์แผ่นเหล็กกล้าคาร์บอน

4. ขึ้นรูปผลิตภัณฑ์โลหะแผ่น

 

 

 

ลักษณะรายวิชา

 

1. รหัสและชื่อวิชา  รหัส 20103-2001 วิชา งานเชื่อมโลหะเบื้องต้น  Basic Welding

 

2. สภาพรายวิชา 1. เชื่อมอาร์กลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์แผ่นเหล็กกล้า งานเริ่มต้นอาร์กงานเชื่อม เดินแนว งานต่อแนวเชื่อมงานเชื่อมพอก งานเชื่อมรอยต่อชน รอยต่อเกย  รอยต่อตัวที ในตำแหน่งท่าราบ ตามหลักการและกระบวนการ

2. เชื่อมแก๊สแผ่นเหล็กกล้า งานปรับเปลวไฟเชื่อม งานสร้างบ่อหลอมเหลว                          งานเชื่อมเดินแนวแบบForehand รอยต่อมุม รอยต่อชนตำแหน่งท่าราบตาม หลักการและกระบวนการ

                             3. ตัดแก๊สแผ่นเหล็กกล้า ด้วยมือ และเครื่องตัดอัตโนมัติตามแบบกำหนด

3. ระดับรายวิชา ชั้นปีที่ ปวช.ภาคเรียนที่ 1

 

4. วิชาบังคับก่อน ...................................................................................................

 

5. เวลาศึกษา 100 ชั่วโมงเรียนตลอด  18 สัปดาห์ ทฤษฎี 17 ชั่วโมงต่อสัปดาห์

ปฏิบัติ 55 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และนักศึกษาจะต้องใช้เวลาศึกษาค้นคว้านอก

เวลา 0 ชั่วโมงต่อสัปดาห์

 

6. จำนวนหน่วยกิ 2 หน่วยกิต (0-6-2)

 

7. จุดประสงค์รายวิชา

7.1 สามารถปฏิบัติงานเชื่อมอาร์กลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์งานเริ่มต้นอาร์ก งานเชื่อมเดินแนว งานต่อแนวเชื่อมงานเชื่อมพอก งานเชื่อมรอยต่อชน รอยต่อเกย รอยต่อตัวที ในตำแหน่งท่าราบ

7.2 สามารถปฏิบัติงานเชื่อมแก๊ส งานปรับเปลวไฟเชื่อม งานสร้างบ่อหลอมเหลว งานเชื่อมเดินแนวแบบ

Forehand รอยต่อมุม รอยต่อชนในตำแหน่งท่าราบ

7.3 สามารถปฏิบัติงานตัดแก๊สด้วยมือ และเครื่องตัดอัตโนมัติ

7.4 มีกิจนิสัยในการทำงานที่ดี ปฏิบัติการเชื่อม โดยใช้อุปกรณ์ความปลอดภัยส่วนบุคค

 

 

8.  คำอธิบายรายวิชา

ปฏิบัติเกี่ยวกับงานเชื่อมอาร์กลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์เหล็กกล้าคาร์บอนงานเริ่มต้นอาร์ก งานต่อแนวเชื่อมงานเชื่อมพอก งานเชื่อมรอยต่อชน รอยต่อเกย รอยต่อตัวที ในตำแหน่งท่าราบ และงานเชื่อมเดินแนวทุกตำแหน่งท่าเชื่อม งานเชื่อมแก๊ส งานปรับเปลวไฟเชื่อม งานสร้างบ่อหลอมเหลว งานเชื่อมเดินแนว รอยต่อมุม รอยต่อชนแบบForehand ทุกตำแหน่งท่าเชื่อมงานตัดด้วยแก๊สโดยใช้อุปกรณ์ถูกต้องตามหลักความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

ลักษณะรายวิชา

 

1. รหัสและชื่อวิชา  รหัส 20103-1001 วิชา งานเชื่อมโลหะเบื้องต้น  Basic Welding

 

2. สภาพรายวิชา 1. เชื่อมอาร์กลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์แผ่นเหล็กกล้า งานเริ่มต้นอาร์กงานเชื่อม เดินแนว งานต่อแนวเชื่อมงานเชื่อมพอก งานเชื่อมรอยต่อชน รอยต่อเกย  รอยต่อตัวที ในตำแหน่งท่าราบ ตามหลักการและกระบวนการ

2. เชื่อมแก๊สแผ่นเหล็กกล้า งานปรับเปลวไฟเชื่อม งานสร้างบ่อหลอมเหลว                          งานเชื่อมเดินแนวแบบForehand รอยต่อมุม รอยต่อชนตำแหน่งท่าราบตาม หลักการและกระบวนการ

                             3. ตัดแก๊สแผ่นเหล็กกล้า ด้วยมือ และเครื่องตัดอัตโนมัติตามแบบกำหนด

3. ระดับรายวิชา ชั้นปีที่ ปวช.ภาคเรียนที่ 1

 

4. วิชาบังคับก่อน ...................................................................................................

 

5. เวลาศึกษา 100 ชั่วโมงเรียนตลอด  18 สัปดาห์ ทฤษฎี 17 ชั่วโมงต่อสัปดาห์

ปฏิบัติ 55 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และนักศึกษาจะต้องใช้เวลาศึกษาค้นคว้านอก

เวลา 0 ชั่วโมงต่อสัปดาห์

 

6. จำนวนหน่วยกิ 2 หน่วยกิต (0-6-2)

 

7. จุดประสงค์รายวิชา

7.1 สามารถปฏิบัติงานเชื่อมอาร์กลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์งานเริ่มต้นอาร์ก งานเชื่อมเดินแนว งานต่อแนวเชื่อมงานเชื่อมพอก งานเชื่อมรอยต่อชน รอยต่อเกย รอยต่อตัวที ในตำแหน่งท่าราบ

7.2 สามารถปฏิบัติงานเชื่อมแก๊ส งานปรับเปลวไฟเชื่อม งานสร้างบ่อหลอมเหลว งานเชื่อมเดินแนวแบบ

Forehand รอยต่อมุม รอยต่อชนในตำแหน่งท่าราบ

7.3 สามารถปฏิบัติงานตัดแก๊สด้วยมือ และเครื่องตัดอัตโนมัติ

7.4 มีกิจนิสัยในการทำงานที่ดี ปฏิบัติการเชื่อม โดยใช้อุปกรณ์ความปลอดภัยส่วนบุคค

8.  คำอธิบายรายวิชา

ปฏิบัติเกี่ยวกับงานเชื่อมอาร์กลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์เหล็กกล้าคาร์บอนงานเริ่มต้นอาร์ก งานต่อแนวเชื่อมงานเชื่อมพอก งานเชื่อมรอยต่อชน รอยต่อเกย รอยต่อตัวที ในตำแหน่งท่าราบ และงานเชื่อมเดินแนวทุกตำแหน่งท่าเชื่อม งานเชื่อมแก๊ส งานปรับเปลวไฟเชื่อม งานสร้างบ่อหลอมเหลว งานเชื่อมเดินแนว รอยต่อมุม รอยต่อชนแบบForehand ทุกตำแหน่งท่าเชื่อมงานตัดด้วยแก๊สโดยใช้อุปกรณ์ถูกต้องตามหลักความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

จุดประสงค์รายวิชา

   1. มีความเข้าใจหลักการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเบื้องต้น กฎหมายพระราชบัญญัติและกาสนเทศทางด้านความปลอดภัย เทคโนโลยีและวิศวกรรมความปลอดภัยหลักการยศาสตร์เพื่ออาชีวอนามัยและเพิ่มผลผลิตและมาตรฐานการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

2. มีความสามารถดำเนินงานด้วยความปลอดภัยในการทำงาน  การป้องกันและควบคุมอันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน  ดำเนินงานด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรมความปลอดภัยส่งเสริมสุขภาพอนามัยพนักงาน ปรับปรุงสภาพการทำงานและจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเบื้อง ต้น

3. มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความรอบคอบ  หยั่งรู้อันตราย มีความตระหนักในอาชีวอนามัยและความปลอด ภัย

 

มาตรฐานรายวิชา

  -การจัดอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเบื้องต้น,การจัดองค์กรและความปลอดภัย,อุบัติเหตุและการป้องกัน,

   โรคอันเนื่องจากการประกอบอาชีพอุตสาหกรรม,เทคโนโลยีและวิศวกรรมความปลอดภัยเบื้องต้น,การป้องกันและระวังอัคคีภัย,การส่งเสริมสุขภาพอนามัยพนักงาน,การตรวจความปลอดภัยและการสอบสวนอุบัติเหตุ,การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัยแลการหยั่งรู้อันตราย,กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย

 

คำอธิบายรายวิชา

- ศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมความปลอดภัยในการทำงาน  การจัดทีมงานส่งเสริมความปลอดภัยภายในและภายนอกสำนักงาน  การป้องกันและควบคุมมลพิษจากสภาพแวดล้อมในการทำงานทางด้านชีววิทยากายภาพและ  ทางเคมี  เทคโนโลยีและวิศวกรรมความปลอดภัยเบื้องต้น ความปลอดภัยบริเวณพื้นที่ทำงานการใช้เครื่องมือเครื่องจักรและยานพาหนะการเคลื่อนย้ายวัสดุและเก็บรักษาวัสดุ ความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้าและในงานก่อสร้าง การป้องกันและระงับอัคคีภัย  การส่งเสริมสุขภาพอนามัยพนักงาน การป้องกันและเฝ้าระวังโรคจากการทำงาน  การปฐมพยาบาล  การวิเคราะห์และปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์  การจัดอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเบื้องต้น  การตรวจสอบความปลอดภัย การสอบสวนและวิเคราะห์อุบัติเหตุในการทำงาน  การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัยและฝึกการหยั่งรู้อันตราย

  


Site announcements

การเข้าระบบ

by thanawit seeharach -

ให้นักศึกษาเข้าระบบโดย
   ชื่อผู้ใช้    (รหัสนักศึกษา)  เช่น 671000257
   รหัสผ่าน  (รหัสนักศึกษา)  เช่น 671000257

เข้าเรียน การรู้ดิจิทัล(Digital Literacy) คลิกที่นี่